สังคมผู้สูงอายุ - An Overview

ช่องทางการร้องเรียน/ให้ข้อเสนอแนะของนักศึกษา

จากโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ชีวิตของผู้สูงวัยไทยในวันนี้และวันหน้าจะเป็นอย่างไร คนไทยและสังคมไทยเตรียมความพร้อมไว้แค่ไหน อะไรคือสิ่งที่ทุกฝ่ายควรเตรียมความคิดและลงมือทำ รองศาสตราจารย์ ดร.นพพล วิทย์วรพงศ์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตในมุม “เศรษฐศาสตร์” เพื่อให้ทุกฝ่ายทั้งภาคประชาชน เอกชน และรัฐ เตรียมการรับมือผลกระทบที่กำลังเกิดขึ้น เพื่อสร้างความสุขและคุณภาพชีวิตในบั้นปลายของทุกคนที่กำลังจะเป็นผู้สูงวัยในวันหน้า

ปัญหาทางด้านสภาพจิตใจ เมื่อไม่ได้ทำงานทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกเหงา ไม่ภาคภูมิใจเหมือนเป็นภาระกับลูกหลาน อาจรู้สึกน้อยใจ ซึมเศร้า จึงจำเป็นต้องมีคนดูแลเอาใจใส่วัยเกษียณกันมากขึ้น

..การเก็บสะสมเงินออมเพื่อให้ได้รับผลตอบแทนสูง (แต่ยังปลอดภัยเงินต้น) ก็ยังขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคลด้วย

โดยเฉพาะในส่วนงบประมาณการรักษาและฟื้นฟูร่างกายจากอาการเจ็บป่วย เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนอกจากชุมชนและครอบครัวต้องปรับตัวแล้ว นโยบายที่มีคุณภาพของภาครัฐก็เป็นสิ่งจำเป็นในการบริหารจัดการให้ประเทศเข้าสู่โอกาสใหม่ของเศรษฐกิจอายุวัฒน์ และได้รับประโยชน์จากการเป็นสังคมสูงวัยที่มีสุขภาพที่ดีื ทั้งกายและใจ

“เพศแม่คือบุคคลสำคัญในนโยบายนี้ จากทัศนะเดิม ถ้าผู้หญิงคิดจะมีลูกสักคนก็ต้องตริตรองเพื่อเลือกระหว่างการมีบุตร แลกกับการถูกตัดขาดจากตลาดแรงงาน เนื่องจากสังคมยังคาดหวังให้ผู้หญิงรับผิดชอบงานบ้านและงานเลี้ยงดูบุตร ดังนั้น หากเราเชื่อว่าการมีบุตรจะช่วยให้พ่อแม่ในวัยเกษียณมีความสุข รัฐไทยก็ต้องปรับทัศนะ เน้นการให้โอกาสทั้งหญิงและชายในตลาดแรงงานอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น เพราะทั้งสองฝ่ายต้องทำงานและช่วยเหลือกันระหว่างการเลี้ยงดูบุตร เพื่อคุณภาพชีวิตในบั้นปลาย” รศ.ดร.นพพล กล่าว

ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สังคมผู้สูงอายุ สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)

อดีตมาร์เก็ตติ้งทิ้งยอดขาย สู่ชีวิตเรียบง่ายสไตล์ออแกนิค

“เงิน” ไม่ใช่คำตอบสุดท้ายในการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีในยามชราภาพ แต่ต้องหันมาให้ความสำคัญกับการจัด “บริการทางสังคม” ด้วย เช่น บริการสุขภาพ บริการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง บริการดูแลผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง บริการทางสังคมเพื่อหนุนเสริมการมีส่วนร่วมทางสังคมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคส่วนอื่นที่ไม่ใช่รัฐจะสามารถเข้ามามีส่วนช่วยสนับสนุนการจัดบริการเหล่านี้อย่างไร ทิศทางของเรื่องนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบภาพรวมของระบบการคุ้มครองทางสังคมของประเทศ

“หากอยู่อาศัยกับบุตรหลานโดยตรง ผู้สูงอายุมักจะไม่ได้รับเงินจากบุตรหลานมากนัก แต่จะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดแทน ตรงข้ามกับผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ลำพังที่จะได้รับเงินจากบุตรหลาน แต่ขาดการดูแลอย่างใกล้ชิด ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ เพราะบุตรหลานอยู่ไกลจากพ่อแม่ การถ่ายโอนเงินและเวลาในครอบครัวสะท้อนถึงค่านิยมเรื่องของความกตัญญู” รศ.ดร.นพพล เผย

ปกติเราเห็นคนหนุ่มสาวเป็นแกนนำชุมชน แต่ที่บ้านปลักปรือนี้พิเศษอยู่อย่างที่ผู้สูงอายุเป็นแกนนำของทุกอย่าง ด้วยความรู้สมุนไพรที่สั่งสมมานาน ประสานเข้ากับกระบวนการวิจัย สร้างผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยภูมิปัญญาของชุมชน จนผู้สูงอายุบ้านปลักปรือได้เป็นผู้ประกอบการรุ่นเดอะที่ลูกหลานต้องจับตามอง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *